687286

31มีนาคม 2563 เวลา10.00น. นายสัตวแพทย์สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสัตว์ บูรณาการหน่วยงานเครือข่ายหารือแนวทางการควบคุมโรคกาฬโรคแอฟริกาในม้า จัดประชุมvdo conferance เฝ้าระวังโรคในม้า พร้อมด้วยน.สพส.ชัยวัฒน์ โยธคล รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ และนักวิชาการ อาจารย์มหาวิทยาลัยหน่วยงานภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องร่วมประชุม ในครั้งนี้

ด้วยปัจจุบันเกิดการแพร่ระบาดของโรคกาฬโรคแอฟริกาในม้า (Afican Horse Sickness) ซึ่งเป็นโรคติดเชื้อในตระกูล ม้า ลา ล่อ ม้าลาย ตามข่าวที่เกิดขึ้นได้เกิดการแพร่ระบาดของโรคฯ ดังกล่าว ที่อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา สาเหตุเกิดจากเชื้อไวรัส RA ชนิดไม่มีเปลือกหุ้มซื่อ Reoviridae genus Orbivirus

โดยทำให้ม้า ลา ล่อ ม้าลาย มักแสดงอาการมีไข้สูง มีอาการเกี่ยวกับระบบทางหายใจ แล้วตายโดยฉับพลันซึ่งจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในครั้งนี้นั้นเป็นแบบที่เฉียบพลันรุนแรง กรมปศุสัตว์จึงได้จัดประชุมเพื่อหารือแนวทางและกำหนดมาตรการในการควบคุมโรคกาฬโรคแอฟริกาในม้า ในครั้งนี้โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้

เรื่องเพื่อพิจารณา

  1. มาตรการในการควบคุมโรคกาฬโรคแอฟริกาในม้าในประเทศไทย
  2. การขอความร่วมมือในการเฝ้าระวังและควบคุมโรคจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    • 2.1 ข้อมูลประชากรม้าและสถานที่เลี้ยม้าของแต่ละหน่วยงาน
    • 2.2 ข้อมูลการนำเข้าส่งออกม้า ลา ล่อ ม้าลาย อูฐ
    • 2.3 การเฝ้าระวังโรคสถานที่เลี้ยงของแต่หน่วยงาน
    • 2.4 ข้อเสนอแนะ/ความคิดเห็นเกี่ยวกับมาตรการในการควบคุมโรคจากผู้เข้าร่วมประชุม

หากพบสัตว์ป่วยตายผิดปกติขอให้ดำเนินการ

  1. ทำบันทึกสั่งกักสัตว์ทั้งฟาร์ม/ฝูงประสานด่านกักสัตว์ควบคุมการเคลื่อนย้าย
  2. เก็บตัวอย่างเลือดส่งสถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ
  3. ให้คำแนะนำเจ้าของสัตว์ในการจัดการม้าป่วย ม้าร่วมฝูง งดการเคลื่อนย้าย
  4. รายงานการเกิดโรคผ่านระบบ esmart surveillance
  5. ประกาศเขตเฝ้าระวังโรคระบาดชนิดกาฬโรคแอฟริกาในม้า ชนิดสัตว์ม้า ลา ล่อ อูฐ

ทั้งนี้อธิบดีกรมปศุสัตว์เน้นย้ำให้เจ้าของ หมั่นสังเกตอาการมเทที่เลี้ยงอย่างใกล้ชิด หากพบม้าแสดงอาการผิดปกติให้รีบแจ้งสัตวแพทย์ที่ปรึกษาฟาร์ม และ แจ้งสำนังานปศุสัตว์จังหวัด หรือสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ หรือสายด่วนกรมปศุสัตว์ 063-2256888 และแอปพลิเคชั่น DLD4.0 เพื่อดำเนินการตรวจสอบและควบคุมโรคอย่างเร่งด่วน ต่อไป

ณ ห้องประชุมพระพิรุณ กรมปศุสัตว์

    ที่มาของข้อมูล : คณะทำงานโฆษกกรมปศุสัตว์

บันทึก
การตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยยอมรับหรือปฏิเสธ คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่มีความจำเป็น
ยอมรับทั้งหมด
ปฏิเสธทั้งหมด
Essential
คุกกี้ประเภทนี้ มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการทำงานของเว็บไซต์ ท่านจำเป็นต้องยอมรับให้เปิดใช้งาน
คุกกี้ที่มีความจำเป็น
คุกกี้ประเภทนี้ มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการทำงานของเว็บไซต์ ได้แก่ คุกกี้ที่ทำให้เว็บไซต์สามารถทำหน้าที่ขั้นพื้นฐาน เช่น การเลื่อนสำรวจหน้าเว็บไซต์ หรือ ทำให้ผู้เข้าชม/ผู้ใช้เว็บไซต์สามารถเข้าสู่ระบบและสามารถเข้าถึงส่วนของเว็บไซต์ที่ถูกสงวนไว้ให้ใช้ได้เฉพาะสมาชิกเท่านั้น เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานอย่างถูกต้องได้เลยหากไม่มีการเก็บรวบรวมคุกกี้เหล่านี้
ยอมรับ
Functional
คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยยอมรับหรือปฏิเสธ คุกกี้ในแต่ละประเภทดังต่อไปนี้
คุกกี้ที่ช่วยเหลือในการทำงาน
คุกกี้ประเภทนี้ อาจถูกติดตั้งไว้โดยผู้ให้บริการซึ่งเป็นบุคคลที่สาม โดยเป็นคุกกี้ประเภทที่ทำให้เว็บไซต์สามารถช่วยเหลือหรืออำนวยความสะดวกในการใช้งานให้ท่านได้
ยอมรับ
ปฏิเสธ
คุกกี้เพื่อประสิทธิภาพ
คุกกี้ประเภทนี้ ทำให้ผู้ให้บริการเว็บไซต์ที่คุณเข้าใช้งาน สามารถรับรู้ข้อมูลประสิทธิภาพเว็บไซต์ได้ เช่น จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์ จำนวนการเข้าชมเว็บไซต์ แหล่งที่มาของผู้เข้าชม และหน้าเว็บไซต์ใดที่ได้รับความนิยมมากที่สุดหรือน้อยที่สุด เป็นต้น โดยกรมปศุสัตว์จะนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางด้านสถิติเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพเว็บไซต์ เท่านั้น
ยอมรับ
ปฏิเสธ
คุกกี้เพื่อกำหนดเป้าหมาย
คุกกี้ประเภทนี้ อาจถูกติดตั้งไว้โดยผู้ให้บริการซึ่งเป็นบุคคลที่สาม เนื่องจากเว็บไซต์กรมปศุสัตว์มีการเชื่อมโยงลิงค์ไปยังเว็บไซต์ภายนอก ซึ่งเว็บไซต์อื่นหรือโซเชียลมีเดียของบุคคลที่สามจะมีการกำหนดและตั้งค่าคุกกี้ขึ้นมาเอง โดยกรมปศุสัตว์ไม่สามารถควบคุมหรือรับผิดชอบต่อคุกกี้เหล่านั้นได้ และขอแนะนำให้ท่านควรอ่านนโยบายหรือประกาศการใช้คุกกี้ของบุคคลภายนอกเหล่านั้นด้วย โดยคุกกี้ดังกล่าว จะทำการจัดเก็บข้อมูลการเข้าชมเว็บไซต์ของท่าน เช่น ท่านเข้าชมเว็บไซต์ใดบ้าง และเข้าชมเว็บไซต์ผ่านทางลิงก์ใดบ้าง เป็นต้น โดยผู้ให้บริการจะใช้ข้อมูลเหล่านี้เพื่อกำหนดให้เว็บไซต์ และโฆษณาที่ถูกจัดแสดงในเว็บไซต์ของบริษัทฯ เว็บไซต์ในเครือข่ายพันธมิตรของผู้ให้บริการโฆษณา มีความเกี่ยวข้องกับความสนใจของท่านมากขึ้น
ยอมรับ
ปฏิเสธ