×

คำเตือน

JFolder: :files: พาทที่ระบุไว้ ไม่มีโฟลเดอร์ พาท: [ROOT]/images/news/head/25530601

×

แจ้งให้ทราบ

There was a problem rendering your image gallery. Please make sure that the folder you are using in the Simple Image Gallery plugin tags exists and contains valid image files. The plugin could not locate the folder:

นายปรีชา สมบูรณ์ประเสริฐ อธิบดีกรมปศุสัตว์ พร้อมกับ นายนิรันดร เอื้องตระกูลสุข ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ และนายธนบดี รอดสม ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาระบบและรับรองคุณภาพอาหารสัตว์อุตสาหกรรม ได้เดินทางไปตรวจประเมินโรงงานผลิตวัตถุดิบอาหารสัตว์ ชนิดเนื้อสัตว์ปีกป่น ระหว่างวันที่ 1–8 มิถุนายน 2553 เพื่อประเมินกระบวนการผลิตและคุณภาพของวัตถุดิบอาหารสัตว์ดังกล่าว เพื่อจะนำมาประกอบการอนุญาตให้นำเข้ามาเป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์สำหรับเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทย

 

     โรงงานแรกชื่อ  Ampro  Products Inc. เลขที่  2305 O′Kelly  Road เมืองGainesville, รัฐจอร์เจีย   ซึ่งเป็นโรงงานที่ผลิตเนื้อสัตว์ปีกป่นได้  6,800  ตันต่อเดือน  สำหรับโรงงานที่  2  ชื่อ  Griffin Industries  Inc  เลขที่  508  Highway  80  East เมือง Dublin  รัฐจอร์เจีย  ผลิตเนื้อสัตว์ปีกป่นได้  9,500  ตันต่อเดือน  ซึ่งทั้งสองโรงงานได้รับใบอนุญาตให้เป็นโรงงานผลิตผลพลอยได้จากสัตว์ปีกเท่านั้น  จาก  Department of  Agriculture  แห่งรัฐจอร์เจีย  ประเทศสหรัฐอเมริกา  มีกระบวนการผลิตที่เหมาะสม  และมีการตรวจสอบคุณภาพของวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่ผลิต  ซึ่งน่าเชื่อถือได้ว่าเป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่มีคุณภาพดีและปลอดภัย
ต่อสัตว์

     สำหรับเนื้อป่น  เนื้อกระดูกป่น  เนื้อสัตว์ปีกป่นและผลพลอยได้จากสัตว์ปีกป่นมีการนำเข้ามาเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทยเพิ่มขึ้นทุกปี  ในปี  2550,  2551  และปี 2552  มีการนำเข้ามาจากประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกประมาณ  13,744  ตัน  148,550  และ  197,163 ตัน  ตามลำดับ  ซึ่งกรมปศุสัตว์ต้องควบคุมการนำเข้าอย่างเข้มงวดตามพระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์  พ.ศ. 2525  ผู้นำเข้าต้องขออนุญาตนำเข้าซึ่งอาหารสัตว์เมื่อได้รับใบอนุญาตแล้ว  ต้องขอขึ้นทะเบียนอาหารสัตว์  เมื่อได้รับใบสำคัญการขึ้นทะเบียนอาหารสัตว์แล้ว  ทุกครั้งที่มีการนำเข้าต้องแจ้งให้กรมปสุสัตว์ตามทราบตามแบบใบแจ้งขออนุญาตนำเข้าซึ่งอาหารสัตว์ (นส.4)  เพื่อเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ได้ไปเก็บตัวอย่างมาเพื่อตรวจวิเคราะห์ไม่ให้มีการปนเปื้อน  DNA  ของสัตว์เคี้ยวเอื้อง    จึงสามารถนำเข้ามาใช้เป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์ได้

 

{gallery}news/head/25530601{/gallery}

 

ข้อมูล :  สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ ส่วนควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์


บันทึก
การตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยยอมรับหรือปฏิเสธ คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่มีความจำเป็น
ยอมรับทั้งหมด
ปฏิเสธทั้งหมด
Essential
คุกกี้ประเภทนี้ มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการทำงานของเว็บไซต์ ท่านจำเป็นต้องยอมรับให้เปิดใช้งาน
คุกกี้ที่มีความจำเป็น
คุกกี้ประเภทนี้ มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการทำงานของเว็บไซต์ ได้แก่ คุกกี้ที่ทำให้เว็บไซต์สามารถทำหน้าที่ขั้นพื้นฐาน เช่น การเลื่อนสำรวจหน้าเว็บไซต์ หรือ ทำให้ผู้เข้าชม/ผู้ใช้เว็บไซต์สามารถเข้าสู่ระบบและสามารถเข้าถึงส่วนของเว็บไซต์ที่ถูกสงวนไว้ให้ใช้ได้เฉพาะสมาชิกเท่านั้น เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานอย่างถูกต้องได้เลยหากไม่มีการเก็บรวบรวมคุกกี้เหล่านี้
ยอมรับ
Functional
คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยยอมรับหรือปฏิเสธ คุกกี้ในแต่ละประเภทดังต่อไปนี้
คุกกี้ที่ช่วยเหลือในการทำงาน
คุกกี้ประเภทนี้ อาจถูกติดตั้งไว้โดยผู้ให้บริการซึ่งเป็นบุคคลที่สาม โดยเป็นคุกกี้ประเภทที่ทำให้เว็บไซต์สามารถช่วยเหลือหรืออำนวยความสะดวกในการใช้งานให้ท่านได้
ยอมรับ
ปฏิเสธ
คุกกี้เพื่อประสิทธิภาพ
คุกกี้ประเภทนี้ ทำให้ผู้ให้บริการเว็บไซต์ที่คุณเข้าใช้งาน สามารถรับรู้ข้อมูลประสิทธิภาพเว็บไซต์ได้ เช่น จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์ จำนวนการเข้าชมเว็บไซต์ แหล่งที่มาของผู้เข้าชม และหน้าเว็บไซต์ใดที่ได้รับความนิยมมากที่สุดหรือน้อยที่สุด เป็นต้น โดยกรมปศุสัตว์จะนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางด้านสถิติเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพเว็บไซต์ เท่านั้น
ยอมรับ
ปฏิเสธ
คุกกี้เพื่อกำหนดเป้าหมาย
คุกกี้ประเภทนี้ อาจถูกติดตั้งไว้โดยผู้ให้บริการซึ่งเป็นบุคคลที่สาม เนื่องจากเว็บไซต์กรมปศุสัตว์มีการเชื่อมโยงลิงค์ไปยังเว็บไซต์ภายนอก ซึ่งเว็บไซต์อื่นหรือโซเชียลมีเดียของบุคคลที่สามจะมีการกำหนดและตั้งค่าคุกกี้ขึ้นมาเอง โดยกรมปศุสัตว์ไม่สามารถควบคุมหรือรับผิดชอบต่อคุกกี้เหล่านั้นได้ และขอแนะนำให้ท่านควรอ่านนโยบายหรือประกาศการใช้คุกกี้ของบุคคลภายนอกเหล่านั้นด้วย โดยคุกกี้ดังกล่าว จะทำการจัดเก็บข้อมูลการเข้าชมเว็บไซต์ของท่าน เช่น ท่านเข้าชมเว็บไซต์ใดบ้าง และเข้าชมเว็บไซต์ผ่านทางลิงก์ใดบ้าง เป็นต้น โดยผู้ให้บริการจะใช้ข้อมูลเหล่านี้เพื่อกำหนดให้เว็บไซต์ และโฆษณาที่ถูกจัดแสดงในเว็บไซต์ของบริษัทฯ เว็บไซต์ในเครือข่ายพันธมิตรของผู้ให้บริการโฆษณา มีความเกี่ยวข้องกับความสนใจของท่านมากขึ้น
ยอมรับ
ปฏิเสธ