ข่าวพระราชกรณียกิจ/พระบรมราโชวาท/ถวายพระพร

No Gift Policy

ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับติดต่อกรมปศุสัตว์

การจัดประชุม /สัมมนา /การจัดงาน/ประชาสัมพันธ์

ระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์กรมปศุสัตว์

ปฏิทินกิจกรรมผู้บริหารกรมฯ

ข่าวปศุสัตว์จากหนังสือพิมพ์

คำถามที่ถามบ่อย

ระบบการสื่อสารแบบรวมศูนย์ (workD Platform)

แบบสำรวจความพึงพอใจ

ข่าวสารผู้บริหารกรม / กระทรวง (ล่าสุด)

การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม

สื่อประชาสัมพันธ์

แบบสอบถามผู้รับบริการ

ข่าวชี้แจงประเด็นสำคัญ

ข่าวสารหน่วยงานในสังกัดกรมปศุสัตว์

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

เอกสารประชาสัมพันธ์

ภาพอินโฟกราฟิกที่สำคัญ

ปราชญ์เกษตรของแผ่นดิน ประจำปี 2565

เกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ/สถาบันเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ

อาสาปศุสัตว์ดีเด่นแห่งชาติ

ส่งเสริมอาชีพ

ราคาสินค้าปศุสัตว์ที่เกษตรกรขายได้

โครงการ JAEC

วีดีโอประชาสัมพันธ์

การป้องกันเฝ้าระวังโรค COVID-19

25630401 1covid

ศูนย์อำนวยการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านปศุสัตว์

ศูนย์อำนวยการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านปศุสัตว์

ภาพอินโฟกราฟิกด้านสนันสนุน

ข่าวประชาสัมพันธ์ทั่วไป

การขับเคลื่อนเพื่อประเทศไทย 4.0

การขับเคลื่อนตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ข้อมูลเปิดเผยภาครัฐ

โครงการที่สำคัญ/ลิงค์ประชาสัมพันธ์

เว็บไซต์ที่น่าสนใจ

ป้องปรามการกระทำผิดด้านปศุสัตว์

QR Code เว็บไซต์กรมปศุสัตว์

dld qr code
www.dld.go.th

สถิติผู้เข้าชมเว็บไซต์

กำลังออนไลน์

มี 1233 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์

003

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08.30 น. นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ มอบหมายให้ นายสัตวแพทย์โสภัชย์ ชวาลกุล รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ เป็นประธานเปิดการฝึกอบรม หลักสูตรการแปรรูปเนื้อสัตว์และนมสำหรับเกษตรกรและผู้ประกอบการชาวเมียนมา (Meat and Dairy processing training course for farmers and processors) โดยมี ดร. อำพล วริทธิธรรม ผู้อำนวยการกองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ กล่าวรายงาน และนางสาวเอื้องพลอย ใจลังกา ผอ.ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่ กล่าววัตถุประสงค์และที่มาของการจัดอบรม พร้อมด้วย น.สพ. ชุมพล บุญรอด ปศุสัตว์เขต 5 น.สพ. อนุสรณ์ หอมขจร ปศุสัตว์จังหวัดเชียงใหม่ น.สพ. พูนศักดิ์ นาวาทอง หัวหน้าด่านกักสัตว์เชียงใหม่ และผู้แทนจากกรมปศุสัตว์ ร่วมให้การต้อนรับ Dr. Khin Hlaing, Director of Myanmar Livestock Federation (MLF) และผู้เข้าร่วมอบรมจากสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา กว่า 20 คน ในระหว่างวันที่ 13 – 19 พฤศจิกายน 2565 โดยเมียนมาถือเป็นประเทศที่มีวัตถุดิบที่มีคุณภาพจำนวนมาก และประเทศไทยถือเป็นหน่วยงานที่มีความสามารถในการแปรรูปวัตถุดิบ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า โดยได้รับการสนับสนุนจากองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ และความร่วมมือระหว่างประเทศเมียนมา โดยสหพันธ์ปศุสัตว์เมียนมา (Myanmar Livestock Federation) และประเทศไทย โดยกรมปศุสัตว์ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมและส่งเสริมธุรกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง และสร้างความแข็งแกร่งให้ประชาคมอาเซียน ซึ่งการอบรมในครั้งนี้จะทำให้เกษตรกรและผู้ประกอบการชาวเมียนมานำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ น้ำนมโค เนื้อโค เนื้อสุกร และเนื้อไก่ ในอุตสาหกรรมของประเทศ ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

การอบรมครั้งนี้เป็นความร่วมมือระหว่างกรมปศุสัตว์และสหพันธ์ปศุสัตว์เมียนมา (Myanmar Livestock Federation) เกิดขึ้นจากนโยบายของรัฐบาลไทยในเรื่องความร่วมมือระหว่างประเทศ ซึ่งได้เข้าร่วมสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือประชาคมอาเซียนเป็นเป้าหมายการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ โดยประชาคมอาเซียนเปรียบเสมือนเป็นครอบครัวเดียวกันของประเทศสมาชิก โดยร่วมมือกันเพื่อเพิ่มอำนาจต่อรอง และขีดความสามารถการแข่งขันของอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศ รวมถึงให้อาเซียน มีความแข็งแกร่ง มีภูมิต้านทานที่ดีในการรับมือกับปัญหาใหม่ ๆ ระดับโลก จากการเข้าร่วมประชาคมอาเซียนทำให้มีการเปิดเสรีด้านการค้าและบริการ เพื่อส่งเสริมการแบ่งงานผลิตสินค้าและบริการภายในอาเซียน โดยเน้นการใช้วัตถุดิบภายในอาเซียนเป็นหลักตามนโยบายข้างต้น
----------------------------------------------
ข้อมูล : ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่

ภาพ : กิตติพรรณ จินดามัง / ข่าว : กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ / กลุ่มเผยแพร่ฯ / สลก.

บันทึก
การตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยยอมรับหรือปฏิเสธ คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่มีความจำเป็น
ยอมรับทั้งหมด
ปฏิเสธทั้งหมด
Essential
คุกกี้ประเภทนี้ มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการทำงานของเว็บไซต์ ท่านจำเป็นต้องยอมรับให้เปิดใช้งาน
คุกกี้ที่มีความจำเป็น
คุกกี้ประเภทนี้ มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการทำงานของเว็บไซต์ ได้แก่ คุกกี้ที่ทำให้เว็บไซต์สามารถทำหน้าที่ขั้นพื้นฐาน เช่น การเลื่อนสำรวจหน้าเว็บไซต์ หรือ ทำให้ผู้เข้าชม/ผู้ใช้เว็บไซต์สามารถเข้าสู่ระบบและสามารถเข้าถึงส่วนของเว็บไซต์ที่ถูกสงวนไว้ให้ใช้ได้เฉพาะสมาชิกเท่านั้น เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานอย่างถูกต้องได้เลยหากไม่มีการเก็บรวบรวมคุกกี้เหล่านี้
ยอมรับ
Functional
คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยยอมรับหรือปฏิเสธ คุกกี้ในแต่ละประเภทดังต่อไปนี้
คุกกี้ที่ช่วยเหลือในการทำงาน
คุกกี้ประเภทนี้ อาจถูกติดตั้งไว้โดยผู้ให้บริการซึ่งเป็นบุคคลที่สาม โดยเป็นคุกกี้ประเภทที่ทำให้เว็บไซต์สามารถช่วยเหลือหรืออำนวยความสะดวกในการใช้งานให้ท่านได้
ยอมรับ
ปฏิเสธ
คุกกี้เพื่อประสิทธิภาพ
คุกกี้ประเภทนี้ ทำให้ผู้ให้บริการเว็บไซต์ที่คุณเข้าใช้งาน สามารถรับรู้ข้อมูลประสิทธิภาพเว็บไซต์ได้ เช่น จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์ จำนวนการเข้าชมเว็บไซต์ แหล่งที่มาของผู้เข้าชม และหน้าเว็บไซต์ใดที่ได้รับความนิยมมากที่สุดหรือน้อยที่สุด เป็นต้น โดยกรมปศุสัตว์จะนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางด้านสถิติเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพเว็บไซต์ เท่านั้น
ยอมรับ
ปฏิเสธ
คุกกี้เพื่อกำหนดเป้าหมาย
คุกกี้ประเภทนี้ อาจถูกติดตั้งไว้โดยผู้ให้บริการซึ่งเป็นบุคคลที่สาม เนื่องจากเว็บไซต์กรมปศุสัตว์มีการเชื่อมโยงลิงค์ไปยังเว็บไซต์ภายนอก ซึ่งเว็บไซต์อื่นหรือโซเชียลมีเดียของบุคคลที่สามจะมีการกำหนดและตั้งค่าคุกกี้ขึ้นมาเอง โดยกรมปศุสัตว์ไม่สามารถควบคุมหรือรับผิดชอบต่อคุกกี้เหล่านั้นได้ และขอแนะนำให้ท่านควรอ่านนโยบายหรือประกาศการใช้คุกกี้ของบุคคลภายนอกเหล่านั้นด้วย โดยคุกกี้ดังกล่าว จะทำการจัดเก็บข้อมูลการเข้าชมเว็บไซต์ของท่าน เช่น ท่านเข้าชมเว็บไซต์ใดบ้าง และเข้าชมเว็บไซต์ผ่านทางลิงก์ใดบ้าง เป็นต้น โดยผู้ให้บริการจะใช้ข้อมูลเหล่านี้เพื่อกำหนดให้เว็บไซต์ และโฆษณาที่ถูกจัดแสดงในเว็บไซต์ของบริษัทฯ เว็บไซต์ในเครือข่ายพันธมิตรของผู้ให้บริการโฆษณา มีความเกี่ยวข้องกับความสนใจของท่านมากขึ้น
ยอมรับ
ปฏิเสธ