001

อธิบดีกรมปศุสัตว์พร้อมด้วยรองอธิบดีและที่ปรึกษาฯ ลงพื้นที่และเข้าร่วมประชุมกับเจ้าหน้าที่สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดนครศรีธรรมราช

นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ พร้อมด้วย นายสัตวแพทย์สรวิศ ธานีโต ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และที่ปรึกษาอธิบดีกรมปศุสัตว์ นายพงษ์พันธ์ ธรรมมา รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ ลงพื้นที่และเข้าร่วมประชุมกับเจ้าหน้าที่สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมีนายศิริพงษ์ พลศิริ รักษาราชการแทนปศุสัตว์จังหวัดนครศรีธรรมราช และเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ให้การตัอนรับ

อธิบดีกรมปศุสัตว์ ได้รับฟังการขับเคลื่อนงานด้านปศุสัตว์ ข้อสนอแนะ ปัญหาอุปสรรค ของจังหวัดนครศรีธรรมราช และได้กล่าวถึงความสำคัญของเจ้าหน้าที่สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด อำเภอ และได้ให้กำลังใจแก่เจ้าหน้าที่ ซึ่งเป็นกำลังหลักในการปฏิบัติงานในพื้นที่ รวมทั้ง มอบนโยบาย “ครอบครัวปศุสัตว์ ทำด้วยใจ ทำให้ไว ทำได้จริง” และแนวทางการปฏิบัติงาน ดังนี้

1 อธิบดีกรมปศุสัตว์ได้มอบหมายให้นายพงษ์พันธ์ ธรรมมา รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ เป็นผู้ประสานงานและขับเคลื่อนในพื้นที่ภาพรวมทั้งประเทศ รวมทั้ง ขับเคลื่อนนโยบาย “DLD-C” ของกรมปศุสัตว์ ซึ่งมีปศุสัตว์จังหวัดเป็นประธาน DLD-C ในพื้นที่จังหวัด เพื่อให้การแก้ไขปัญหามีความคล่องตัวมากขึ้น การประชุมสามารถประชุมทาง online และอาจเชิญเจ้าหน้าที่ส่วนกลางมาเข้าร่วมประชุมด้วยได้ นอกจากนี้ ประธาน DLD-C สามารถเสนอแนวทางมาที่ส่วนกลางได้ อาทิ การบริหารจัดการบุคลากรในพื้นที่ให้สอดคล้องกับภาระงานและการแก้ไขปัญหา

2 การปฏิบัติงานในพื้นที่ใช้หลักการ “ป้องกันดีกว่าแก้ไข” หากพบปัญหาอุปสรรค ให้รีบรายงานผู้บังคับผู้บัญชาเพื่อช่วยกันแก้ไขปัญหาร่วมกัน รวมทั้ง สร้างเครือข่ายการปฏิบัติงาน โดยให้เกษตรกร ผู้ประกอบการ ภาคเอกชน เข้ามาเป็น “DLD Family” เพื่อสนับสนุนการทำงาน

3 การบริการประชาชน ให้ยึดหลักการ ยินดีรับใช้ เต็มใจให้บริการ เพื่อสร้างความพึงพอใจแก่ทุกคน แต่ต้องมีความถูกต้องตามกฎระเบียบ ถ้าผิดพลาดต้องรีบแก้ไขให้ถูกต้อง ถ้าทำดีแล้ว ต้องพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น

4 “Digital Technology” นำเทคโนโลยีมาใช้เสริมประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ซึ่งกรมปศุสัตว์อยู่ในระหว่างพัฒนา Televet และ e-Tracking

เมื่อวันศุกร์ที่ 27 มกราคม 2566 เวลา 09.00 น. ณ สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดนครศรีธรรมราช

ภาพ: ธงชัย สาลี / ข่าว: ทีมเลขาหน้าห้องอธิบดี / กลุ่มเผยแพร่ฯ / สลก.


บันทึก
การตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยยอมรับหรือปฏิเสธ คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่มีความจำเป็น
ยอมรับทั้งหมด
ปฏิเสธทั้งหมด
Essential
คุกกี้ประเภทนี้ มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการทำงานของเว็บไซต์ ท่านจำเป็นต้องยอมรับให้เปิดใช้งาน
คุกกี้ที่มีความจำเป็น
คุกกี้ประเภทนี้ มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการทำงานของเว็บไซต์ ได้แก่ คุกกี้ที่ทำให้เว็บไซต์สามารถทำหน้าที่ขั้นพื้นฐาน เช่น การเลื่อนสำรวจหน้าเว็บไซต์ หรือ ทำให้ผู้เข้าชม/ผู้ใช้เว็บไซต์สามารถเข้าสู่ระบบและสามารถเข้าถึงส่วนของเว็บไซต์ที่ถูกสงวนไว้ให้ใช้ได้เฉพาะสมาชิกเท่านั้น เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานอย่างถูกต้องได้เลยหากไม่มีการเก็บรวบรวมคุกกี้เหล่านี้
ยอมรับ
Functional
คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยยอมรับหรือปฏิเสธ คุกกี้ในแต่ละประเภทดังต่อไปนี้
คุกกี้ที่ช่วยเหลือในการทำงาน
คุกกี้ประเภทนี้ อาจถูกติดตั้งไว้โดยผู้ให้บริการซึ่งเป็นบุคคลที่สาม โดยเป็นคุกกี้ประเภทที่ทำให้เว็บไซต์สามารถช่วยเหลือหรืออำนวยความสะดวกในการใช้งานให้ท่านได้
ยอมรับ
ปฏิเสธ
คุกกี้เพื่อประสิทธิภาพ
คุกกี้ประเภทนี้ ทำให้ผู้ให้บริการเว็บไซต์ที่คุณเข้าใช้งาน สามารถรับรู้ข้อมูลประสิทธิภาพเว็บไซต์ได้ เช่น จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์ จำนวนการเข้าชมเว็บไซต์ แหล่งที่มาของผู้เข้าชม และหน้าเว็บไซต์ใดที่ได้รับความนิยมมากที่สุดหรือน้อยที่สุด เป็นต้น โดยกรมปศุสัตว์จะนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางด้านสถิติเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพเว็บไซต์ เท่านั้น
ยอมรับ
ปฏิเสธ
คุกกี้เพื่อกำหนดเป้าหมาย
คุกกี้ประเภทนี้ อาจถูกติดตั้งไว้โดยผู้ให้บริการซึ่งเป็นบุคคลที่สาม เนื่องจากเว็บไซต์กรมปศุสัตว์มีการเชื่อมโยงลิงค์ไปยังเว็บไซต์ภายนอก ซึ่งเว็บไซต์อื่นหรือโซเชียลมีเดียของบุคคลที่สามจะมีการกำหนดและตั้งค่าคุกกี้ขึ้นมาเอง โดยกรมปศุสัตว์ไม่สามารถควบคุมหรือรับผิดชอบต่อคุกกี้เหล่านั้นได้ และขอแนะนำให้ท่านควรอ่านนโยบายหรือประกาศการใช้คุกกี้ของบุคคลภายนอกเหล่านั้นด้วย โดยคุกกี้ดังกล่าว จะทำการจัดเก็บข้อมูลการเข้าชมเว็บไซต์ของท่าน เช่น ท่านเข้าชมเว็บไซต์ใดบ้าง และเข้าชมเว็บไซต์ผ่านทางลิงก์ใดบ้าง เป็นต้น โดยผู้ให้บริการจะใช้ข้อมูลเหล่านี้เพื่อกำหนดให้เว็บไซต์ และโฆษณาที่ถูกจัดแสดงในเว็บไซต์ของบริษัทฯ เว็บไซต์ในเครือข่ายพันธมิตรของผู้ให้บริการโฆษณา มีความเกี่ยวข้องกับความสนใจของท่านมากขึ้น
ยอมรับ
ปฏิเสธ