Sidebar

 

Legal dld

pic01

24 เมษายน 2562 เวลา 13.00น. นายสัตวแพทย์สรวิศ ธานีโต เข้าเยี่ยมคารวะและหารือกับ Mr.Ryosuke OGAWA,Councillor,Minister's Secretarail ซึ่งควบตำแหน่ง DDG, Food Safety and COnsumer Affairs Bureau, MAFF ระหว่างวันที่ 23-25 เมษายน 2562 เพื่อหารือด้านการค้าสินค้าปศุสัตว์และความร่วมมือทางด้านวิชาการระหว่างประเทศไทยและประเทศญี่ปุ่น พร้อมด้วยนายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ นายสัตวแพทย์วัชรพล โชติยะปุตตะ ผอ.กรป นายสัตวแพทย์โสภัชย์ ชวาลกุล ผอ.สพส. และนายชลธิศักดิ์ ชาวปากน้ำ อัครราชฑูตที่ปรึกษา(ฝ่ายการเกษตร) ประจำประเทศญี่ปุ่น

สรุปประเด็นการหารือกับเจ้าหน้าที่ MAFF ดังนี้

  1. การส่งเจ้าหน้าที่แลกเปลี่ยนระหว่างMAFF และกรมปศุสัตว์ (DLD) ณ เมืองท่า เพื่อเป็นการศึกษาดูงานระหว่างสองประเทศและเป็นแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานด้านปศุสัตว์ในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งที่ผ่านมาได้รับความร่วมมือจากประเทศญี่ปุ่นเป็นอย่างดีมาโดยตลอด
  2. การส่งออกเนื้อสุกรจากประเทศญี่ปุ่นมายังประเทศไทย ซึ่งอยู่ระหว่างการพิจารณาในรายละเอียดเนื่องจากมีหลายประเด็นที่ทางประเทศญี่ปุ่นต้องมีการสแก้ไขและปรับปรุงเพื่อประกอบการพิจารณาในการนำเข้าเนื่อสุกรจากประเทศญี่ปุ่นมายังประเทศไทย ต่อไป
  3. การส่งออก Feather meal (ขนไก่ป่น) เพื่อผลิตเป็นปุ๋ย ทั้งนี้บรษัทผู้ส่งอออยู่ระหว่างปรับปรุงโรงงานให้สอดคล้องกับ requirement ของทาง MAFF และฝ่ายไทยหวังว่าจะได้รับการพิจารณาในการเปิดตลาดสินดังกล่าวจากญี่ปุ่น ต่อไป
  4. การส่งออก Steamed leather meal (หนังโคป่น) เพื่อผลิตเป็นปุ๋ย ไปยังประเทศญี่ปุ่น ซึ่งทางบริษัทผู้ส่งออกอยู่ในช่วงปรับปรุงโรงงานให้สอดคล้องกับ requirement ของทาง MAFF และฝ่ายไทยหวังว่าจะได้รับการพิจารณาในการเปิดตลาดสินดังกล่าวจากญี่ปุ่น ต่อไป
  5. การส่งออก Feather meal (ขนไก่ป่น) เพื่อผลิตเป็นอาหารสัตว์ เพื่อผลิตป็นอาหารสัตว์ส่งออกไปยังประเทศญี่ปุ่นนั้น กรมปศุสัตว์ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้รับการพิจารณาในการเปิดตลาด ต่อไป
  6. การขอเปิดตลาดเนื้อไก่พันธุ์พื้นเมืองจากประเทศไทยมายังญี่ปุ่น เนื่องจากประเทศไทยมีไก่พื้นเมืองที่มีคุณภาพและมีลักษณะเด่น คือมีคุณภาพเนื้อที่เหนียวนุ่มและมีคลอเรสเตอรอลต่ำ เช่น ไก่ประดู่หางดำ โดยกรมปศุสัตว์หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้รับการพิจารณาในการเปิดตลาดสินค้าดังกล่าว ต่อไป
  7. การพิจารณาโควตาการส่งออกเนื้อสุกรแปรรูปจากประเทศไทยไปประเทศญี่ปุ่น โดยกรมปศุสัตว์ขอขยายโควตาและการลดภาษีนำเข้าสินค้าผลิตภัณฑ์สุกรแปรรูปจากประเทศไทยไปประเทศญี่ปุ่นจาก4,500ตัน/ปี เป็น 12,000ตัน/ปี ต่อไป

ทั้งนี้ผลการหารือในวันนี้เพื่อสร้างความสัมพันธ์ความร่วมทางด้านวิชาการและความร่วมมือด้านสินค้าปศุสัตว์ไทย โดย กรมปศุสัตว์ไทยให้ความสำคัญกับการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพเนื่องจากสินค้าปศุสัตว์ไทยได้รับการยอมรับด้านคุณภาพในระดับสูงจากผู้บริโภคในตลาดญี่ปุ่นและตลาดโลก รวมทั้งการสร้างมูลค่าเพิ่มและความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ให้มากขึ้น เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันให้แก่สินค้าปศุสัตว์ไทย ซึ่งถือว่าเป็นจุดแข็งของอุตสาหกรรมการผลิตสินค้าปศุสัตว์ไทย เพื่อให้กรมปศุสัตว์เป็นองค์การที่นำและขับเคลื่อนการปศุสัตว์ไทย สู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนในตลาดโลก” ต่อไป

ณ กระทรวงเกษตร ป่าไม้และประมง ประเทศญี่ปุ่น(MAFF)กรุงโตเกียว ประเทศ(ญี่ปุ่น)

ที่มาของข้อมูล : คณะทำงานโฆษกกรมปศุสัตว์


Save
Cookies user preferences
We use cookies to ensure you to get the best experience on our website. If you decline the use of cookies, this website may not function as expected.
Accept all
Decline all
Essential
คุกกี้ประเภทนี้ มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการทำงานของเว็บไซต์ ท่านจำเป็นต้องยอมรับให้เปิดใช้งาน
คุกกี้ที่มีความจำเป็น
คุกกี้ประเภทนี้ มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการทำงานของเว็บไซต์ ได้แก่ คุกกี้ที่ทำให้เว็บไซต์สามารถทำหน้าที่ขั้นพื้นฐาน เช่น การเลื่อนสำรวจหน้าเว็บไซต์ หรือ ทำให้ผู้เข้าชม/ผู้ใช้เว็บไซต์สามารถเข้าสู่ระบบและสามารถเข้าถึงส่วนของเว็บไซต์ที่ถูกสงวนไว้ให้ใช้ได้เฉพาะสมาชิกเท่านั้น เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานอย่างถูกต้องได้เลยหากไม่มีการเก็บรวบรวมคุกกี้เหล่านี้
Accept
Functional
คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยยอมรับหรือปฏิเสธ คุกกี้ในแต่ละประเภทดังต่อไปนี้
คุกกี้ที่ช่วยเหลือในการทำงาน
คุกกี้ประเภทนี้ อาจถูกติดตั้งไว้โดยผู้ให้บริการซึ่งเป็นบุคคลที่สาม โดยเป็นคุกกี้ประเภทที่ทำให้เว็บไซต์สามารถช่วยเหลือหรืออำนวยความสะดวกในการใช้งานให้ท่านได้
Accept
Decline
คุกกี้เพื่อประสิทธิภาพ
คุกกี้ประเภทนี้ ทำให้ผู้ให้บริการเว็บไซต์ที่คุณเข้าใช้งาน สามารถรับรู้ข้อมูลประสิทธิภาพเว็บไซต์ได้ เช่น จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์ จำนวนการเข้าชมเว็บไซต์ แหล่งที่มาของผู้เข้าชม และหน้าเว็บไซต์ใดที่ได้รับความนิยมมากที่สุดหรือน้อยที่สุด เป็นต้น โดยกรมปศุสัตว์จะนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางด้านสถิติเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพเว็บไซต์ เท่านั้น
Accept
Decline
คุกกี้เพื่อกำหนดเป้าหมาย
คุกกี้ประเภทนี้ อาจถูกติดตั้งไว้โดยผู้ให้บริการซึ่งเป็นบุคคลที่สาม เนื่องจากเว็บไซต์กรมปศุสัตว์มีการเชื่อมโยงลิงค์ไปยังเว็บไซต์ภายนอก ซึ่งเว็บไซต์อื่นหรือโซเชียลมีเดียของบุคคลที่สามจะมีการกำหนดและตั้งค่าคุกกี้ขึ้นมาเอง โดยกรมปศุสัตว์ไม่สามารถควบคุมหรือรับผิดชอบต่อคุกกี้เหล่านั้นได้ และขอแนะนำให้ท่านควรอ่านนโยบายหรือประกาศการใช้คุกกี้ของบุคคลภายนอกเหล่านั้นด้วย โดยคุกกี้ดังกล่าว จะทำการจัดเก็บข้อมูลการเข้าชมเว็บไซต์ของท่าน เช่น ท่านเข้าชมเว็บไซต์ใดบ้าง และเข้าชมเว็บไซต์ผ่านทางลิงก์ใดบ้าง เป็นต้น โดยผู้ให้บริการจะใช้ข้อมูลเหล่านี้เพื่อกำหนดให้เว็บไซต์ และโฆษณาที่ถูกจัดแสดงในเว็บไซต์ของบริษัทฯ เว็บไซต์ในเครือข่ายพันธมิตรของผู้ให้บริการโฆษณา มีความเกี่ยวข้องกับความสนใจของท่านมากขึ้น
Accept
Decline
By visiting our website you agree that we are using cookies to ensure you to get the best experience.Accept allDecline allCustomize
Cookies options